ญี่ปุ่น ใช้จรวด H3 จรวดขนส่ง อวกาศที่ถูกใช้งาน ทำภารกิจ หลักของประเทศ
ญี่ปุ่น ใช้จรวด นับเป็นการปล่อย จรวดครั้งที่ 3 ของจรวดรุ่นนี้ การปล่อยจรวด ทดลอง เล่น บาคาร่า เกิดขึ้น ณ ฐานปล่อย จรวดศูนย์อวกาศ นาเนงาชิมะ สล็อต วอลเล็ต ไม่มีขั้นต่ํา จังหวัดคาโงชิมะ
ทางตะวันตกเฉียงใต้ ของประเทศญี่ปุ่น ดาวเทียมไดจิ-4 ทำการแยก ตัวออกจากจรวดหลังจากปล่อย ตัวประมาณ 17 นาที สำหรับดาวเทียมไดจิ-4 นับเป็นดาวเทียม รุ่นใหม่ล่าสุด สำหรับใช้ ติดตามสภาพอากาศ และสำรวจภัยพิบัติ
ทางธรรมชาติ โดยใช้เทคโนโลยีเรดาร์ การเก็บข้อมูลความละเอียดสูง รองรับการตอบสนอง ภัยพิบัติ ที่เกิดขึ้นรวดเร็ว เช่น แผ่นดินไหว สึนามิ และภูเขาไฟระเบิด จรวด H3 พัฒนาโดยสำนักงานสำรวจอวกาศแห่งญี่ปุ่น
(JAXA) และมิตซูบิชิ เฮฟวี อินดัสทรีส์จรวดมีความสูงทั้งหมด 63 เมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 5.27 เมตร บรรทุกดาวเทียม และยานอวกาศน้ำหนัก 4 – 7.9 ตัน ขึ้นสู่วงโคจร SSO และ GTO จรวดแบ่งการทำงาน
ออกเป็น 2 ขั้นตอน จรวดบูสเตอร์ ขั้นตอนแรก ใช้เชื้อเพลิงแข็งเอสอาร์บี-3 จรวดท่อนที่ 2 ใช้เชื้อเพลิง ไฮโดรเจนเหลว และออกซิเจนเหลว การปล่อยจรวด H3 ครั้งแรกเมื่อปี 2023 จบลงด้วยความล้มเหลว พร้อมดาวเทียมไดจิ-3
หลังจากทีมงาน วิศวกรได้ทำการศึกษาและวางมาตรการป้องกัน ความปลอดภัยเพิ่มเติม ทำให้การปล่อยจรวดครั้งที่ 2 ในเดือนกุมภาพันธ์ปีนี้ก็ประสบความสำเร็จ การส่งดาวเทียมไดจิ-4 ในครั้งนี้ นับเป็นการส่งดาวเทียม ขนาดใหญ่ขึ้นสู่วงโคจร
สำเร็จเป็นครั้งแรกขององค์การอวกาศญี่ปุ่น นอกจากนี้จรวด H3 ยังถูกวางให้เป็นจรวด หลักที่จะถูกใช้งานแทนจรวด H2A หลังจากจรวด H2A ถูกใช้งานมาแล้ว 50 ภารกิจ โดยองค์การอวกา